ประเพณีหมิงฮุน กการแต่งงาน ชีวิตหลังความตาย ก็จะไปสู่ปรโลกอย่างไม่เป็นสุข
ประเพณีหมิงฮุน หรือ ‘เพ่ยกู่’ มีมาตั้งแต่ ‘ราชวงศ์ซาง’ เป็นการวิวาห์หลังความตายนั้นมี 2 แบบนั่นก็คือ ‘ระหว่างศพกับศพ’ โดยครอบครัวของผู้ตายทั้ง 2 ฝ่ายจะนำเอาร่างของทั้งคู่ไปฝังไว้ด้วยกัน เพราะชาวจีนมีความเชื่อว่าหากชีวิตหนึ่งเกิดมาแล้วตายไปโดยปราศจากการแต่งงาน ชีวิตหลังความตาย ก็จะไปสู่ปรโลกอย่างไม่เป็นสุข และวงศ์ตระกูลของพวกเขา ก็จะไม่เป็นสุขเช่นกันการแต่งงาน ‘ระหว่างคนกับศพ’ ทั่วไปแล้วถ้าศพผู้ชาย
แต่งกับผู้หญิงก็จะเรียกว่า ผีแต่งเมีย หรือถ้าศพผู้หญิงแต่ง กับผู้ชายก็จะเรียกว่า ผีแต่งผัว โดยปัจจุบันจะมีการแต่งงานระหว่างศพผู้ชายกับผู้ชาย ที่เกิดในบริบทสังคมของคนไต้หวัน (ประเทศไต้หวันเป็นประเทศแรก ทดลองเล่น บาคาร่า ในเอเชียที่อนุญาตให้คู่รัก LGBTQIA+ แต่งงานกันอย่างถูกต้องตามกฎหมาย) ทำให้เรื่องนี้มีความย้อนแย้งที่ในสนใจ ในสังคมยุคปัจจุบันที่เปิดกว้างในเรื่องเพศการให้ความสำคัญ กับครอบครัวของชาวจีน เพราะชาวจีนมี
ประเพณี และวัฒนธรรมมากมาย ที่เชิดชูสถาบันครอบครัว ไม่ว่าพวกเขาเหล่านั้นจะมีชีวิตอยู่หรือไม่ก็ตาม โดยเฉพาะเทศกาลเช็งเม้ง, เทศกาลตรุษจีน และเทศกาลสาทรจีน ซึ่งเทศกาลที่เรากล่าวมา ก็จะมีวันที่ชาวจีน และใครก็ตามที่มีเชื้อสายจีนต้องกราบไหว้บรรพบุรุษจากความเชื่อในอดีต ปัจจุบันกลายเป็น “พิธีกรรมต้องห้าม” ต้นเหตุฆาตกรรมสนั่นเมือง ที่ทั้งสุดโต่ง โหดร้าย น่าสยดสยอง และถูก
ใช้เป็นเครื่องมือ ที่พรากชีวิตคนอีกจำนวนมากวิธีการประกอบพิธีแต่งงานผี คือการนำร่างของทั้งสองคน ฝังมาไว้ด้วยกัน แม้ว่าจะไม่รู้จักกันเลยก็ตาม ประเด็นจึงอยู่ที่ว่า แล้วจะเอาใครมาเป็นคู่? เพราะในปัจจุบัน คนที่เชื่อในพิธีกรรมนี้ มีจำนวนไม่มากแล้ว การหาร่างเพื่อนำมาประกอบพิธี จึงเป็นไปอย่างยากลำบากจึงเกิดการ “ฆ่าชิงร่าง” เพื่อนำไปประกอบพิธีแต่งงานผี เป็นต้นเหตุของคดีฆาตกรรม อันน่าหดหู่มากมาย
และที่น่ากลัวไปกว่านั้น ความเชื่อนี้ยังทำให้เกิด “ขบวนการขายร่าง” ให้กับผู้ที่ต้องการ เพื่อนำไปประกอบพิธีดังกล่าว และบ่อยครั้งที่ต้นตอของคดี มักจะเกิดจากคนในครอบครัว เช่น คดีเด็กสาวถูกข่มขู่ หวยออนไลน์ cat888 จากคนในครอบครัวให้วางยาพี่สาวตนเองเพื่อนำร่างไปขาย จากปัญหาที่เกิดขึ้น จึงเกิดเสียงต่อต้านจากมุมของคนที่ไม่เชื่อ โดยมองว่าเป็นสิ่งที่ขัดต่อสิทธิเสรีภาพ และละเมิดผู้อื่นอย่างร้ายแรง นอกจากนี้ ยังเปิดช่องให้เกิดการกระทำผิดมาก
ขึ้นในสังคมอีกด้วย สุดท้ายนี้ เมื่อความเชื่อ พิธีกรรม และคดีมากมายที่เกิดขึ้น ถูกร้อยเรียงเข้าด้วยกันแล้ว เราคงเห็นว่าการมีความเชื่อในบางสิ่งนั้นไม่ผิด แต่ต้องไม่ละเมิด และนำความเสียหายมาสู่ผู้อื่น รวมถึงไม่ยัดเยียดโดยการบังคับขู่เข็ญเหมือนศาลเตี้ย พิธีกรรรมที่ยัดไส้ด้วยคดีฆาตกรรมนี้ จึงสะท้อนถึงความเชื่อ และการกระทำของมนุษย์ที่น่ากลัว ทำให้มนุษย์ไม่ต่างอะไรไปจาก “ปีศาจ” ที่น่ากลัวยิ่งกว่าผี